ค้นหา

ค้นหา

เรียงตาม

สรุป
แสก เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่พูดภาษาในตระกูลไท-กะได ปัจจุบันชาวแสกอาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบันภาษาแสกถูกจัดเป็นหนึ่งในสิบห้ากลุ่มภาษาในภาวะวิกฤตใกล้สูญ เนื่องจากภาษาแสกนั้นมีใช้แต่เฉพาะภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีภาษาเขียน
จัดทำโดย: 
บัวฉัฐ วัดแย้ม
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าการอพยพและการตั้งถิ่นฐานของชาวแสก
สรุป
หัวข้อภาษาและวัฒนธรรมที่ได้รับการบันทึกโดยสมาชิกชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก เพื่อจัดเก็บองค์ความรู้ท้องถิ่นและฟื้นฟูภาษาไทแสก
จัดทำโดย: 
โครงการคลังข้อมูลดิจิทัลของกลุ่มชาติพันธุ์ฯ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าชวนหัววิถีชีวิตของหนุ่มสาวชาวแสกในงานบุญพรรษา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าชวนหัวของผัวเมียคู่หนึ่งที่ผัวได้ดี เพราะเมียมีไหวพริบในการพูด
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าอภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์หลวงปู่อุ่น อุตฺตโม ในความทรงจำวัยเด็กของลุงบุญมี ก้อนกั้น
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ขั้นตอน
สรุป
สัมภาษณ์การทำขนมเกฺาโค̄บ(ข้าวพอง) เป็นภาษาแสก เกฺาโค̄บ เป็นขนมโบราณของชาวไทแสก ใช้ในงานบุญและงานมงคล (งานบุญผะเหวด)
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
พจนศิลป์
สรุป
การแสดงกลองเลงหรือออนซอนกลองเลง เป็นวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก สืบทอดมาจากประเทศลาว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
พจนศิลป์, การละเล่น
สรุป
ประเพณีแสกเต้นสาก เป็นประเพณีที่มีการสืบทอดกันมานาน แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาวแสก ตามปกติใช้รำเพื่อบวงสรวงเจ้าที่หรือศาลเจ้าในวันสังเวยผี