ค้นหา

ค้นหา

เรียงตาม

คำสำคัญ

กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
การละเล่น
สรุป
การละเล่นรำมะนาเป็นการละเล่นดนตรีพื้นบ้าน ถือเป็นมรดกสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่นของชาวอูรักลาโวยจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าการอพยพและการตั้งถิ่นฐานของชาวแสก
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าชวนหัววิถีชีวิตของหนุ่มสาวชาวแสกในงานบุญพรรษา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ขั้นตอน
สรุป
ลาบพริก เป็นอาหารพื้นบ้านของชาวบีซู โดยทีมวิจัยชาวบีซูได้บันทึกองค์ความรู้นี้ไว้
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าชวนหัวของผัวเมียคู่หนึ่งที่ผัวได้ดี เพราะเมียมีไหวพริบในการพูด
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าอภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์หลวงปู่อุ่น อุตฺตโม ในความทรงจำวัยเด็กของลุงบุญมี ก้อนกั้น
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ขั้นตอน
สรุป
สัมภาษณ์การทำขนมเกฺาโค̄บ(ข้าวพอง) เป็นภาษาแสก เกฺาโค̄บ เป็นขนมโบราณของชาวไทแสก ใช้ในงานบุญและงานมงคล (งานบุญผะเหวด)
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
พจนศิลป์
สรุป
การแสดงกลองเลงหรือออนซอนกลองเลง เป็นวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก สืบทอดมาจากประเทศลาว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
พจนศิลป์, การละเล่น
สรุป
ประเพณีแสกเต้นสาก เป็นประเพณีที่มีการสืบทอดกันมานาน แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาวแสก ตามปกติใช้รำเพื่อบวงสรวงเจ้าที่หรือศาลเจ้าในวันสังเวยผี
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
พิธีกรรม
สรุป
พิธีลอยเรือ เป็นพิธีกรรมที่ชาวอูรักลาโวยจจะนำสิ่งของ หรือสิ่งไม่ดีมาใส่ในเรือ แล้วลอยไปกับเรือถึงกูนุงเยอรัย และให้มีแต่สิ่งที่ดีเข้ามาในหมู่บ้าน โดยจัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง คือ เดือน 6 และเดือน 11 ขึ้น 14 ค่ำ
ระบบเขียน_ตัวหนังสือภาษาชอง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ระบบเขียน, เรื่องเล่า
สรุป
ระบบเขียนภาษาชองอักษรไทย เพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูภาษาชอง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
นิทานเรื่องพระขันทองกับนางเกสรเป็นนิทานของชาวชอุงที่ผู้บอกภาษาฟังมาจากพ่อแม่สมัยเด็ก สมัยที่พ่อแม่ได้เล่าให้ฟัง จะมีเสียงเอื้อน แต่ปัจจุบันผู้บอกภาษาไม่สามารถเอื้อนได้