ค้นหา

ค้นหา

เรียงตาม

คำสำคัญ

สรุป
เลอเวือะ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีภาษาพูดอยู่ในกลุ่มตระกูลออสโตรเอเชียติก ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตเทือกเขาถนนธงชัยกลางระหว่างจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดแม่ฮ่องสอน ชาวเลอเวือะมีวิถีชีวิต วัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์สำคัญ
จัดทำโดย: 
บัวฉัฐ วัดแ้ยม
สรุป
กฺ๋อง คือกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย อาศัยอยู่ที่บ้านละว้าวังควาย จ.อุทัยธานี และบ้านละว้ากกเชียง จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีภาษาอยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญ
จัดทำโดย: 
บัวฉัฐ วัดแย้ม
สรุป
ภาษาฮากกาหรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า จีนแคะ เป็นกลุ่มภาษาหนึ่งในจำนวน 7 กลุ่มภาษาของจีน
จัดทำโดย: 
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร
สรุป
หัวข้อภาษาและวัฒนธรรมที่ได้รับการบันทึกโดยสมาชิกชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ฮากกา เพื่อจัดเก็บองค์ความรู้ท้องถิ่นและฟื้นฟูภาษาฮากกา
จัดทำโดย: 
โครงการคลังข้อมูลดิจิทัลของกลุ่มชาติพันธุ์ฯ
สรุป
หัวข้อภาษาและวัฒนธรรมฮากกาที่ได้รับการบันทึกและวิเคราะห์โดยนักวิชาการ
จัดทำโดย: 
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร
สรุป
ภาษาเขมรถิ่นไทย เป็นภาษาเขมรที่ใช้พูดอยู่ในประเทศไทย เป็นภาษาพื้นบ้านภาษาหนึ่งที่พูดกันอยู่ในหลายจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก เช่น สุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์
จัดทำโดย: 
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร
สรุป
ภาษามอแกน เป็นภาษาที่อยู่ในตระกูลออสโตรเนเชียน สาขามลาโย – โพลีเนเชียน สาขาย่อยมอแกน – มอแกลน มีความใกล้เคียงกับภาษามอแกลนซึ่งอยู่ในสาขาย่อยเดียวกัน
จัดทำโดย: 
กุมารี ลาภอาภรณ์
สรุป
ชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เรียกภาษาของตนเองว่า บาซอ 'นายู หรือ บาฮาซอ 'นายู แปลว่า ภาษามลายู (บาซอ/บาฮาซอ แปลว่า ภาษา) และเรียกตนเองว่า “ออแร 'นายู” แปลว่า คนมลายู (คำว่า 'นายู เป็นคำลดรูปของคำว่า มลายู นั่นเอง)
จัดทำโดย: 
ยูเนียนสาสมีต้า สาเมาะ
สรุป
ภาษาตากใบ (เจ๊ะเห) เป็นภาษาตระกูลไทกลุ่มตะวันตกเฉียงใต้ กระจายตัวอยู่ในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และพื้นที่บางส่วนในประเทศมาเลเซีย เป็นภาษาที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาสุโขทัยโดยตรงเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1300
จัดทำโดย: 
ภีมระพัฒต์ รองสวัสดิ์
สรุป
ภาษาปลัง (Plang) หรือบางคนออกเสียงว่าปลั่ง เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic language family) สาขาปะหล่อง
จัดทำโดย: 
Field Linguistics Research Practicum 62