ค้นหากลุ่มชาติพันธุ์

เรียงตาม

2 หัวข้อ
ภาษากูย เป็นภาษาที่อยู่ในตระกูลออสโตรเอเชียติก หรือภาษาในตระกูลมอญ - เขมร ชาวกูยแต่ละถิ่นจะมีการใช้สำเนียงภาษาที่แตกต่างกันไป แต่หากใช้ระบบเสียงมาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งสามารถแบ่งภาษากูยออกเป็น 2 กลุ่มภาษาใหญ่คือ ภาษากูย (กูย - กูย) และภาษากวย (กูย - กวย)
2 หัวข้อ
ภาษาญัฮกุร หรือมอญโบราณในสมัยทวาราวดี จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยโมนิค
3 หัวข้อ
เอกสารคู่มือต่างๆ สำหรับการฝากข้อมูลและทำงานร่วมกับเว็บไซต์คลังข้อมูลของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย LangArchive-TH
3 หัวข้อ
กะซอง เป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานอยู่มากที่ บ้านคลองแสง หมู่ที่ 3 ตำบลด่านชุมพล อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
4 หัวข้อ
กลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่า (Akha) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีภาษาอยู่ในตระกูลจีน – ทิเบต สาขาธิเบต – พม่า มีประชากรประมาณ 50,000 คน (สุวิไล เปรมศรีรัตน์และคณะ, 2547) ประชากรอาศัยอยู่ในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทยจำนวนมาก
4 หัวข้อ
ภาษาอูรักลาโวยจ เป็นหนึ่งในภาษาที่อยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญ ทำให้ชาวอูรักลาโวยจที่บ้านสังกาอู้ อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ ได้รวมกลุ่มกันเพื่อดำเนินงานฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเอง ด้วยตนเอง
7 หัวข้อ
ชาวชองเป็นกลุ่มคนดั้งเดิมในดินแดนเอเชียอาคเนย์ กระจายตัวอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ตราด ระยอง และฉะเชิงเทรา โดยเฉพาะบริเวณที่ต่อเนื่องกับประเทศกัมพูชา ปัจจุบันพบชาวชองอาศัยอยู่หนาแน่นในเขตกิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฎ จังหวัดจันทบุรี
7 หัวข้อ
ภาษาชอุงเป็นภาษาในกลุ่ม Pearic สาขา Mon-Khmer ของตระกูลภาษา Austro-Asiatic ผู้พูดภาษากลุ่มนี้อาศัยกระจายอยู่บริเวณแถบชายแดนประเทศไทย-กัมพูชา
7 หัวข้อ
หัวข้อภาษาและวัฒนธรรมที่ได้รับการบันทึกโดยสมาชิกชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก เพื่อจัดเก็บองค์ความรู้ท้องถิ่นและฟื้นฟูภาษาไทแสก
7 หัวข้อ
แสก เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่พูดภาษาในตระกูลไท-กะได ปัจจุบันชาวแสกอาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบันภาษาแสกถูกจัดเป็นหนึ่งในสิบห้ากลุ่มภาษาในภาวะวิกฤตใกล้สูญ เนื่องจากภาษาแสกนั้นมีใช้แต่เฉพาะภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีภาษาเขียน