ชอุง

ชอุง

ภาษาชอุงเป็นภาษาในกลุ่ม Pearic สาขา Mon-Khmer ของตระกูลภาษา Austro-Asiatic ผู้พูดภาษากลุ่มนี้อาศัยกระจายอยู่บริเวณแถบชายแดนประเทศไทย-กัมพูชา
จัดทำโดย: 
บัวฉัฐ วัดแย้ม

ภาษาชอุงเป็นภาษาในกลุ่ม Pearic สาขา Mon-Khmer ของตระกูลภาษา Austro-Asiatic ผู้พูดภาษากลุ่มนี้อาศัยกระจายอยู่บริเวณแถบชายแดนประเทศไทย-กัมพูชา มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด Kampong Som หรือ Krong Preah Sihanouk ในประเทศกัมพูชา ชอุงเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวในกลุ่ม Pearic ที่ได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรว่ามีการพลัดถิ่นฐานจากถิ่นกำเนิด ช่วงสงครามสยาม-อันนามคริสต์ทศวรรษ 1830 ชาวชอุงถูกจับมาเป็นเชลยที่ประเทศไทย ในเวลาต่อมาก็ได้ลงหลักปักฐานที่อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

 

หัวข้อ: 
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เล่านิทานเรื่อง หนอนกับต้นมะเขือ โดยดูรูปจากหนังสือภาพเล่มใหญ่
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
นิทานเรื่องพระขันทองกับนางเกสรเป็นนิทานของชาวชอุงที่ผู้บอกภาษาฟังมาจากพ่อแม่สมัยเด็ก สมัยที่พ่อแม่ได้เล่าให้ฟัง จะมีเสียงเอื้อน แต่ปัจจุบันผู้บอกภาษาไม่สามารถเอื้อนได้
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
การทำไร่ของชาวชอุง โดยเตรียมพื้นที่ประมาณ 5 เดือน พอเดือน 6 ก็หว่านข้าว ปลูกพืชผักระหว่างต้นข้าว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
คำศัพท์
สรุป
คำศัพท์ส่วนประกอบของบ้านในภาษาชอุง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องเล่าเกี่ยวกับสาเหตุที่คนไทยเรียกคนชอุงว่าอูด
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ขั้นตอน
สรุป
สาธิตวิธีการสานกะโล่ลายสาม
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เล่าเรื่อง ยายตากข้าว โดยดูรูปจากหนังสือภาพเล่มใหญ่