ค้นหา

ค้นหา

เรียงตาม

กลุ่มชาติพันธุ์

คำสำคัญ

กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
ในปัจจุบันเนื่องจากวัฒนธรรมเสื่อมลง คนที่ไปวัดมีจุดมุ่งหมายไปขอโชคขอลาภ ถามโชคชะตา ไม่ใช่ไปเพื่อสัมผัสกับคำสั่งสอน ดังนั้นวัดในปัจจุบันจึงกลายเป็นเพียงสถานที่ที่คนไปท่องเที่ยวและขอโชคลาภเท่านั้น
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
นิทานเรื่องนี้มักมีคนนำไปให้กำลังใจกับคนที่กำลังท้อแท้ ว่ายังมีคนที่ฐานะแย่กว่าเราก็มี ต้องมองโลกในแง่ดี อย่าท้อแท้ใจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
การแบ่งปัน การดูแลเอาใจใส่ และเอื้อเฟื้อกันทำให้คนที่มีจิตใจคับแคบเปลี่ยนไปเป็นคนที่มีน้ำใจ และความสุขก็เกิดขึ้นได้หลังจากที่ได้แบ่งปันกัน
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
บางครั้งการที่จะทำให้กลุ่มคนที่นับถือประเพณีดั้งเดิมที่ต้องฆ่าคน เพื่อเอาหัวคนไปบวงสรวงเทวดา เพื่อขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลนั้น เป็นเรื่องยาก เพราะเขานับถือกันมานาน แม้จะทำดีกับกลุ่มคนเหล่านั้นแค่ไหนก็ตาม สุดท้ายต้องสละชีวิตตัวเอง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนเราจะทำอะไรก็ตามต้องนึกถึงผลดีผลเสีย อย่าหลงในความสำเร็จของตัวเองจนละเลยการแก้ไขความบกพร่องของตนเอง ไม่ยอมฟังคำติเตียนจากคนอื่น สุดท้ายจะเกิดผลร้ายกับตัวเอง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คุณค่าและความสุขของชีวิตคือการรู้จักให้ผู้อื่นและความเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
คนขี้เหนียวในเรื่องนี้ไม่เพียงแต่มีความขี้เหนียวในชาตินี้ แต่ยังคิดไปถึงชาติหน้าด้วย
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
บางครั้งเส้นผมบังภูเขา และกว่าจะรู้ตัวก็สายไปแล้ว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
ความอยากรู้อยากเห็น บางครั้งทำให้ตัวเองเดือดร้อน
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
คำศัพท์, สื่อการสอน, ระบบเขียน
สรุป
สำนวนในภาษาไทสำเนียงตากใบ มักจะมีการใช้การอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบและการพูดเกินจริง (อติพจน์) เพื่อสื่อความหมายของผู้พูดโดยอ้อม รวมไปถึงมีการใช้สำนวนบางสำนวนในบริบทที่แสดงความไม่พอใจของผู้พูดเท่านั้น
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น, พจนศิลป์, สื่อการสอน, ระบบเขียน
สรุป
เป็นบท'ปาตงที่มีอยู่ในพื้นที่จังหวัดปัตตานีและจังหวัดใกล้เคียง โดยการสืบทอดจากบรรพบุรุษของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู 'ปาตงยังกล่าวถึงธรรมชาติ สภาพทางภูมิศาสตร์ สภาพแวดล้อม อาชีพ ค่านิยม ศาสนา อาหารการกิน และกิจกรรมทางวัฒนธรรมเป็นต้น